เป็นอย่างไรกันบ้างคะ ลมบกลมทะเล ไม่ยากเลยใช่ไหมคะ แล้วอย่าลืมทบทวนเรื่องลมบกลมทะเลกันด้วยนะคะ สู้ๆ ต่อไปค่ะ เป็นกำลังใจให้นะคะ
วันอาทิตย์ที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2560
ลมบกลมทะเล
ลมบกลมทะเล
เป็นอย่างไรกันบ้างคะ ลมบกลมทะเล ไม่ยากเลยใช่ไหมคะ แล้วอย่าลืมทบทวนเรื่องลมบกลมทะเลกันด้วยนะคะ สู้ๆ ต่อไปค่ะ เป็นกำลังใจให้นะคะ
เป็นอย่างไรกันบ้างคะ ลมบกลมทะเล ไม่ยากเลยใช่ไหมคะ แล้วอย่าลืมทบทวนเรื่องลมบกลมทะเลกันด้วยนะคะ สู้ๆ ต่อไปค่ะ เป็นกำลังใจให้นะคะ
วันพฤหัสบดีที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2560
เอลนีโญ่ ลานีญ่า
เอลนีโญ่ ลานีญ่า
หวังว่าหลังจากดุวีดีโอนี้แล้วนักเรียนจะเข้าใจเกี่ยวกับปรากฏการณ์ เอลนีโญ่ ลานีญ่า กันมากขึ้นนะคะ
เป็นกำลังใจให้ค่ะ
วันอังคารที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2560
วันจันทร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2560
วันศุกร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2560
วันอาทิตย์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2560
วันศุกร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2560
วันพฤหัสบดีที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
อากาศ
ผลของรังสีจากดวงอาทิตย์ต่อบรรยากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
หมายถึง
ค่าที่บอกถึงระดับความร้อน-เย็น
ของอากาศหรือวัตถุ
โดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่าว่า
เทอร์โมมิเตอร์
ความดันอากาศ
ความดันอากาศ
(air
pressure) หมายถึง แรงดันของอากาศ ซึ่งก็เป็นเรื่องของสมบัติของอากาศที่ต้องการที่อยู่
อากาศจะเคลื่อนที่โดยโมเลกุลของอากาศจะเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา
เนื่องจากอยู่ในสถานะของแก๊ส
อากาศจะเคลื่อนที่ไปทุกทิศทุกทางทำให้เกิดแรงที่เรียกว่า แรงดันอากาศ แรงดันอากาศจะขึ้นอยู่กับอิทธิพลของขนาดพื้นที่
อุณหภูมิ และอื่นๆ
การวัดความดันของอากาศ
การวัดความดันของอากาศ มีนักวิทยาศาสตร์ได้ทำการศึกษาค้นคว้าไว้จนสามารถสร้างเครื่องวัดความดันของอากาศได้นักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเรื่องความดันของอากาศที่ควรรู้จักมี 2 ท่านด้วยกัน คือ กาลิเลโอ (Galileo) และเทอริเชลลี (Torricelli) โดยศึกษาพบว่า อากาศสามารถดันของเหลว เช่น น้ำหรือปรอทให้เข้าไปอยู่ในหลอดแก้วที่เป็นสุญญากาศได้ จึงนำความรู้ดังกล่าวมาประยุกต์ใช้สร้างเครื่องวัดความดันบรรยากาศที่มีชื่อเรียกว่า บารอมิเตอร์ (barometer) บารอมิเตอร์จะใช้ปรอทบรรจุไว้ภายในหลอดแก้วเนื่องจากมีคุณสมบัติที่ดีกว่าของเหลวอื่น ๆ
การวัดความดันของอากาศ มีนักวิทยาศาสตร์ได้ทำการศึกษาค้นคว้าไว้จนสามารถสร้างเครื่องวัดความดันของอากาศได้นักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเรื่องความดันของอากาศที่ควรรู้จักมี 2 ท่านด้วยกัน คือ กาลิเลโอ (Galileo) และเทอริเชลลี (Torricelli) โดยศึกษาพบว่า อากาศสามารถดันของเหลว เช่น น้ำหรือปรอทให้เข้าไปอยู่ในหลอดแก้วที่เป็นสุญญากาศได้ จึงนำความรู้ดังกล่าวมาประยุกต์ใช้สร้างเครื่องวัดความดันบรรยากาศที่มีชื่อเรียกว่า บารอมิเตอร์ (barometer) บารอมิเตอร์จะใช้ปรอทบรรจุไว้ภายในหลอดแก้วเนื่องจากมีคุณสมบัติที่ดีกว่าของเหลวอื่น ๆ
ลม
ลม
เกิดจาก การเคลื่อนที่ของอากาศจากบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำ
( ความกดอากาศสูง) ไปสู่บริเวณที่มี
อุณหภูมิสูง ( ความกดอากาศต่ำ
)
ความกดอากาศสูงและความกดอากาศต่ำ
มาตรวัดความเร็วลม
(Anemometer)
ศรลม (Wind Vane)
ความชื้นของอากาศ
(humidity)
หมายถึง
ปริมาณของไอน้ำที่มีอยู่ในชั้นบรรยากาศ ในกรณีที่มีความชื้นในอากาศสูงหมายถึงว่าอากาศมีปริมาณไอน้ำมาก
และถ้าอากาศมีความชื้นต่ำหมายถึงว่าอากาศมีปริมาณไอน้ำน้อย
ข้อควรทราบ
อากาศอิ่มตัว หมายถึง อากาศที่มีปริมาณไอน้ำสูงมาก จึงเป็นอากาศที่ไม่สามารถจะรับไอน้ำจากที่ต่างๆ
ได้อีก
*** ในกรณีที่มีไอน้ำเกินกว่าระดับปกติมาก ไอน้ำจะจัดการตัวเองโดยการกลายเป็นหยดน้ำตกลงมาเป็นฝน
ความชื้นสัมพัทธ์
ความชื้นสัมพัทธ์ (relative humidity) เป็นวิธีการวัดความชื้นโดยการเปรียบเทียบเป็นเปอร์เซ็นต์ ระหว่างความชื้นสัมบูรณ์หรือมวลของไอน้ำที่มีอยู่จริงในอากาศ กับมวลของไอน้ำที่อากาศจำนวนนั้นๆ จะมีได้อย่างเต็มที่ ณ อุณหภูมิและปริมาตรเดียวกัน
ความชื้นสัมพัทธ์ (relative humidity) เป็นวิธีการวัดความชื้นโดยการเปรียบเทียบเป็นเปอร์เซ็นต์ ระหว่างความชื้นสัมบูรณ์หรือมวลของไอน้ำที่มีอยู่จริงในอากาศ กับมวลของไอน้ำที่อากาศจำนวนนั้นๆ จะมีได้อย่างเต็มที่ ณ อุณหภูมิและปริมาตรเดียวกัน
หรือ
ตัวอย่างที่ 1 ที่อุณหภูมิ 60
องศาเซลเซียส อากาศอิ่มตัวที่ปริมาณไอน้ำ 24 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร
ไอน้ำจริงในอากาศขณะนั้น 8 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร จงหาค่าความชื้นสัมพัทธ์
เฉลยตัวอย่างที่ 1 ที่อุณหภูมิ
60 องศาเซลเซียส อากาศอิ่มตัวที่ปริมาณไอน้ำ 24 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร
ไอน้ำจริงในอากาศขณะนั้น 8 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร จงหาค่าความชื้นสัมพัทธ์
วิธีทำ
วิธีทำ
ความชื้นสัมพัทธ์
ตัวอย่างที่
2 เมื่อที่อุณหภูมิ
70
องศาเซลเซียส
อากาศอิ่มตัวที่ปริมาณไอน้ำ 25 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร
ไอน้ำจริงในอากาศขณะนั้
5 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร
จงหาค่าความชื้นสัมพัทธ์
วิธีทำ
การวัดความชื้นในบรรยากาศ
การวัดความชื้นในบรรยากาศ เราจะวัดเป็นความชื้นสัมพัทธ์ด้วยเครื่องมือที่มีชื่อเรียกว่า ไฮโกรมิเตอร์ (hygrometer) ไฮโกรมิเตอร์แบ่งเป็นหลายชนิดแต่ที่นิยมใช้
การวัดความชื้นในบรรยากาศ เราจะวัดเป็นความชื้นสัมพัทธ์ด้วยเครื่องมือที่มีชื่อเรียกว่า ไฮโกรมิเตอร์ (hygrometer) ไฮโกรมิเตอร์แบ่งเป็นหลายชนิดแต่ที่นิยมใช้
มี 2
ชนิด
ได้แก่
1. ไฮโกรมิเตอร์แบบกระเปาะเปียกกระเปาะแห้ง
2. ไฮโกรมิเตอร์แบบเส้นผม
(hair
hygrometer)
วันเสาร์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2560
วันศุกร์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2560
วันพุธที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
หมากผู้หมากเมีย และจันทร์ผา
หมากผู้หมากเมีย และจันทร์ผา
และจันทน์ผา ครูก็เลยนำภาพมาให้ดู พร้อมนำเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยที่น่าสนใจมาฝาก หวังว่าจะถูกใจนะจ้ะ
คนไทยโบราณเชื่อว่าบ้านใดปลูกต้นหมากผู้หมากเมียไว้ประจำบ้านจะทำให้มีความอยู่เย็นเป็นสุขเพราะหมากผู้หมากเมีย
ต้องเป็นของคู่กันเสมอคือคู่สุขคู่สม คู่บ้านคู่เมือ
งคนไทยโบราณนิยมปลูกไว้ประจำบ้านมาตั้งแต่โบราณกาลมาแล้ว
นอกจากนี้ยังมีความเชื่ออีกว่าใบของหมากผู้หมากเมีย
ยังใช้ประกอบในงานพิธีมงคลที่สำคัญ เช่น ใช้เป็นเครื่องบูชาพระ
งานขึ้นบ้านใหม่ งานแต่งงาน เป็นต้น
ส่วนภาพนี้คือต้นหมากผู้หมากเมียจ้ะ
ต้นจันทน์ผาออกดอกเป็นช่อคล้ายงวงช้าง
ต้นจันทร์ผาในเดือนกรกฎมคม
เริ่มออกดูชูช่อ เหมือนงวงช้าง....
มีความเชื่อและข้อสังเกตว่า
บ้านใดที่ปลูกจันทร์ผาแล้วปีใด
ออกดอกชูช่อ เชื่อว่า อีกเร็ววันนี้
จะมีโชคลาภ มีโอกาสพบสิ่งดีๆ
เช่น การถูกฉลากรางวัล
การค้าขายประสบความสำเร็จ
หรือความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน การรับตำแหน่งใหม่... .
primary cell wall
primary cell wall
จากภาพจะพบว่าบริเวณ middle lamella จะพบ pectin จำนวนมาก และบริเวณ Primary cell wall จะพบ cellulose จำนวนมาก
วันพุธที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
ประวัติที่น่าสนใจของรอเบิร์ต ฮุค (Robert Hooke)
รอเบิร์ต ฮุค (Robert Hooke)
โรเบิร์ต ฮุก เกิดเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม ค.ศ.1635 ที่เมือง Freshwater ประเทศอังกฤษ เป็นบุตรชายของสมาชิกโบสถ์คนหนึ่ง ในวัยเด็กได้รับการศึกษาจากบิดา แม้ว่าเขาจะได้รับการฝึกฝนให้เป็นศิลปิน แต่เมื่ออายุได้ 13 ปี ก็ได้เข้าเรียนในโรงเรียน Westminster School และเข้าเรียนต่อที่มหาวิทยาลัย Oxford
ฮุกมีความสามารถในการออกแบบและสร้างเครื่องมือในการทดลอง จนได้เป็นผู้ช่วยนัก
เคมี โรเบิร์ต บอยล์ (Robert Boyle) และต่อมาจึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ดูแลการทดลองใน
โครงการใหม่ของราชสมาคมแห่งลอนดอน (Royal Society of London) โดยฮุกมีหน้าที่รับผิด
ชอบในการอธิบายโครงการทดลองครั้งใหม่ในที่ประชุมประจำสัปดาห์ของสมาคม และยังเป็น
ศาสตราจารย์วิชาเรขาคณิตที่วิทยาลัย Gresham ในลอนดอนอีกด้วย
“ความจริงเท่านั้นที่รู้” คำพูดของนักวิทยา
ศาสตร์ชื่อดังชาวอังกฤษ
โรเบิร์ต ฮุค (Robert Hooke)
ผู้ค้นพบเซลล์สิ่งมีชีวิต
และเป็นผู้บัญญัติคำว่า "เซลล์"
ขึ้นเป็นครั้งแรก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)