วันพุธที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

หมากผู้หมากเมีย และจันทร์ผา

หมากผู้หมากเมีย และจันทร์ผา


             วันนี้สอนวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม ว 32243 แล้วนักเรียนไม่รู้จักต้นหมากผู้หมากเมีย 
และจันทน์ผา  ครูก็เลยนำภาพมาให้ดู  พร้อมนำเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยที่น่าสนใจมาฝาก  หวังว่าจะถูกใจนะจ้ะ

รูปภาพที่เกี่ยวข้อง
  ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ จันทร์ผา หมากผู้หมากเมีย


คนไทยโบราณเชื่อว่าบ้านใดปลูกต้นหมากผู้หมากเมียไว้ประจำบ้านจะทำให้มีความอยู่เย็นเป็นสุขเพราะหมากผู้หมากเมีย ต้องเป็นของคู่กันเสมอคือคู่สุขคู่สม  คู่บ้านคู่เมือ  งคนไทยโบราณนิยมปลูกไว้ประจำบ้านมาตั้งแต่โบราณกาลมาแล้ว  นอกจากนี้ยังมีความเชื่ออีกว่าใบของหมากผู้หมากเมีย ยังใช้ประกอบในงานพิธีมงคลที่สำคัญ เช่น ใช้เป็นเครื่องบูชาพระ งานขึ้นบ้านใหม่ งานแต่งงาน เป็นต้น


ส่วนภาพนี้คือต้นหมากผู้หมากเมียจ้ะ
 
 ต้นจันทน์ผาออกดอกเป็นช่อคล้ายงวงช้าง
 

ต้นจันทร์ผาในเดือนกรกฎมคม  เริ่มออกดูชูช่อ เหมือนงวงช้าง....
มีความเชื่อและข้อสังเกตว่า บ้านใดที่ปลูกจันทร์ผาแล้วปีใด 
ออกดอกชูช่อ เชื่อว่า อีกเร็ววันนี้ จะมีโชคลาภ มีโอกาสพบสิ่งดีๆ 
เช่น การถูกฉลากรางวัล การค้าขายประสบความสำเร็จ 
หรือความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน การรับตำแหน่งใหม่... .





cell wall


Cell wall

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ secondary cell wall lignin


















primary cell wall

primary cell wall

Molecular structure of the primary cell wall in plants.:

 

จากภาพจะพบว่าบริเวณ middle lamella จะพบ pectin จำนวนมาก และบริเวณ Primary cell wall จะพบ cellulose จำนวนมาก


























   




วันพุธที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

ประวัติที่น่าสนใจของรอเบิร์ต ฮุค (Robert Hooke)

อเบิร์ต ฮุค (Robert Hooke) ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ กล้องจุลทรรศน์ การ์ตูน

          โรเบิร์ต ฮุก เกิดเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม ค.ศ.1635 ที่เมือง Freshwater ประเทศอังกฤษ  เป็นบุตรชายของสมาชิกโบสถ์คนหนึ่ง ในวัยเด็กได้รับการศึกษาจากบิดา แม้ว่าเขาจะได้รับการฝึกฝนให้เป็นศิลปิน แต่เมื่ออายุได้ 13 ปี ก็ได้เข้าเรียนในโรงเรียน Westminster School และเข้าเรียนต่อที่มหาวิทยาลัย Oxford

 

         ฮุกมีความสามารถในการออกแบบและสร้างเครื่องมือในการทดลอง จนได้เป็นผู้ช่วยนัก

เคมี โรเบิร์ต  บอยล์ (Robert Boyle) และต่อมาจึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ดูแลการทดลองใน

โครงการใหม่ของราชสมาคมแห่งลอนดอน (Royal Society of London) โดยฮุกมีหน้าที่รับผิด

ชอบในการอธิบายโครงการทดลองครั้งใหม่ในที่ประชุมประจำสัปดาห์ของสมาคม และยังเป็น

ศาสตราจารย์วิชาเรขาคณิตที่วิทยาลัย Gresham ในลอนดอนอีกด้วย

 

 

 

 

        ความจริงเท่านั้นที่รู้” คำพูดของนักวิทยา

ศาสตร์ชื่อดังชาวอังกฤษ 

โรเบิร์ต ฮุค (Robert Hooke) 

ผู้ค้นพบเซลล์สิ่งมีชีวิต  

และเป็นผู้บัญญัติคำว่า "เซลล์"  

ขึ้นเป็นครั้งแรก