วันพฤหัสบดีที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

ระบบหายใจ (Respiratory system)

ระบบหายใจ (respiratory system) 

 

อากาศ

ผลของรังสีจากดวงอาทิตย์ต่อบรรยากาศ

อุณหภูมิของอากาศ
หมายถึง  ค่าที่บอกถึงระดับความร้อน-เย็น

ของอากาศหรือวัตถุ โดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่าว่า 

เทอร์โมมิเตอร์



ความดันอากาศ 
ความดันอากาศ (air pressure) หมายถึง แรงดันของอากาศ ซึ่งก็เป็นเรื่องของสมบัติของอากาศที่ต้องการที่อยู่ อากาศจะเคลื่อนที่โดยโมเลกุลของอากาศจะเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา เนื่องจากอยู่ในสถานะของแก๊ส อากาศจะเคลื่อนที่ไปทุกทิศทุกทางทำให้เกิดแรงที่เรียกว่า แรงดันอากาศ แรงดันอากาศจะขึ้นอยู่กับอิทธิพลของขนาดพื้นที่ อุณหภูมิ และอื่นๆ


การวัดความดันของอากาศ
  การ
วัดความดันของอากาศ มีนักวิทยาศาสตร์ได้ทำการศึกษาค้นคว้าไว้จนสามารถสร้างเครื่องวัดความดันของอากาศได้นักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเรื่องความดันของอากาศที่ควรรู้จักมี 2 ท่านด้วยกัน คือ กาลิเลโอ (Galileo) และเทอริเชลลี (Torricelli) โดยศึกษาพบว่า อากาศสามารถดันของเหลว เช่น น้ำหรือปรอทให้เข้าไปอยู่ในหลอดแก้วที่เป็นสุญญากาศได้ จึงนำความรู้ดังกล่าวมาประยุกต์ใช้สร้างเครื่องวัดความดันบรรยากาศที่มีชื่อเรียกว่า บารอมิเตอร์ (barometerบารอมิเตอร์จะใช้ปรอทบรรจุไว้ภายในหลอดแก้วเนื่องจากมีคุณสมบัติที่ดีกว่าของเหลวอื่น ๆ



ลม
ลม   เกิดจาก  การเคลื่อนที่ของอากาศจากบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำ ( ความกดอากาศสูง)    ไปสู่บริเวณที่มี
อุณหภูมิสูง  ( ความกดอากาศต่ำ )

 ความกดอากาศสูงและความกดอากาศต่ำ



 มาตรวัดความเร็วลม  
(Anemometer)


 ศรลม  (Wind Vane)

 แอโรเวน
(aerovane)
 
ความชื้นของอากาศ

ความชื้นของอากาศ (humidity) หมายถึง ปริมาณของไอน้ำที่มีอยู่ในชั้นบรรยากาศ ในกรณีที่มีความชื้นในอากาศสูงหมายถึงว่าอากาศมีปริมาณไอน้ำมาก และถ้าอากาศมีความชื้นต่ำหมายถึงว่าอากาศมีปริมาณไอน้ำน้อย
ข้อควรทราบ
  อากาศอิ่มตัว หมายถึง อากาศที่มีปริมาณไอน้ำสูงมาก จึงเป็นอากาศที่ไม่สามารถจะรับไอน้ำจากที่ต่างๆ ได้อีก
*** ในกรณีที่มีไอน้ำเกินกว่าระดับปกติมาก ไอน้ำจะจัดการตัวเองโดยการกลายเป็นหยดน้ำตกลงมาเป็นฝน

ความชื้นสัมพัทธ์
ความชื้นสัมพัทธ์ (
relative humidity) เป็นวิธีการวัดความชื้นโดยการเปรียบเทียบเป็นเปอร์เซ็นต์ ระหว่างความชื้นสัมบูรณ์หรือมวลของไอน้ำที่มีอยู่จริงในอากาศ กับมวลของไอน้ำที่อากาศจำนวนนั้นๆ จะมีได้อย่างเต็มที่ ณ อุณหภูมิและปริมาตรเดียวกัน
หรือ

ตัวอย่างที่ 1 ที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส อากาศอิ่มตัวที่ปริมาณไอน้ำ 24 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร ไอน้ำจริงในอากาศขณะนั้น 8 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร จงหาค่าความชื้นสัมพัทธ์
เฉลยตัวอย่างที่ 1 ที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส อากาศอิ่มตัวที่ปริมาณไอน้ำ 24 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร ไอน้ำจริงในอากาศขณะนั้น 8 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร จงหาค่าความชื้นสัมพัทธ์
วิธีทำ 
  ความชื้นสัมพัทธ์ 

ตัวอย่างที่ 2 เมื่อที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส อากาศอิ่มตัวที่ปริมาณไอน้ำ 25 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร ไอน้ำจริงในอากาศขณะนั้
5 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร จงหาค่าความชื้นสัมพัทธ์

วิธีทำ 


การวัดความชื้นในบรรยากาศ
การวัดความชื้นในบรรยากาศ เราจะวัดเป็นความชื้นสัมพัทธ์ด้วยเครื่องมือที่มีชื่อเรียกว่า
ไฮโกรมิเตอร์ (hygrometer) ไฮโกรมิเตอร์แบ่งเป็นหลายชนิดแต่ที่นิยมใช้
มี 2 ชนิด ได้แก่
1. ไฮโกรมิเตอร์แบบกระเปาะเปียกกระเปาะแห้ง 
2. ไฮโกรมิเตอร์แบบเส้นผม (hair hygrometer)