วันอาทิตย์ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562

ความกดอากาศและลม

ความกดอากาศและลม

ความกดอากาศ


        อากาศเป็นสสารที่มีสมบัติ คือ มีมวล ปริมาตร ต้องการที่อยู่ และมีแรงกระทำต่อวัตถุ  เมื่อแรงที่กระทำต่อวัตถุมากพอ อากาศจะสามารถทำให้สิ่งต่าง ๆ เคลื่อนที่หรือหยุดนิ่งได้ อากาศมีแรงดันในทุกทิศทาง แรงที่อากาศกระทำต่อพื้นที่ 1 ตารางหน่วย เรียกว่า ความดันอากาศ (air pressure) ในทางอุตุนิยมวิทยาเรียกความดันอากาศว่า ความกดอากาศ


ความดันอากาศ ณ ระดับความสูงต่าง ๆ จากผิวโลกมีการเปลี่ยนแปลงโดยเมื่อระดับความสูงเปลี่ยนแปลง ความดันอากาศก็มีค่าเปลี่ยนแปลงด้วย เมื่อระดับความสูงจากระดับทะเลน้อย
ความดันอากาศจะสูง แต่ถ้าสูงจากระดับทะเลมาก ความดันอากาศจะต่ำ เมื่อความสูงมากความดันอากาศจะต่ำ เมื่อความสูงน้อยความดันอากาศจะสูงเนื่องจากความหนาแน่นของอากาศจะลดลงตามความสูง


                         
   ภาพที่ 7.1 ความดันอากาศ ณ ระดับความสูงต่าง ๆ จากผิวโลก     
 ที่มา สสวท. (2561, 183)



                                         ภาพที่ 7.2 ความหนาแน่นของอากาศ ณ ระดับความสูงต่าง ๆ จากผิวโลก     
                                                                        ที่มา สสวท. (2561, 121)

         เมื่ออากาศได้รับพลังงานความร้อนจะทำให้อนุภาคอากาศเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงขึ้น จึงชนและดันผนังด้านในของลูกโป่ง ทำให้ความดันอากาศภายในลูกโป่งสูงขึ้น ลูกโป่งขยายใหญ่ขึ้น



                                                   ภาพที่ 7.3 ชุดทดลองผลของอุณหภูมิต่ออากาศ     

                                                     ที่มา สสวท. (2561, 122)

          อากาศภายในลูกโป่งถูกปิดล้อมโดยผนังลูกโป่งจึงไม่สามารถเคลื่อนที่ออกมาจากลูกโป่งได้ 

          สำหรับอากาศในบริเวณผิวโลกทั่ว ๆ ไป ไม่ถูกปิดล้อมแบบอากาศในลูกโป่ง เมื่ออากาศได้รับพลังงานความร้อน อากาศจะเคลื่อนที่กระจายตัวออกไปทุกทิศทาง  ส่งผลให้จำนวนอนุภาคอากาศต่อปริมาตรลดลง  อนุภาคอากาศจึงชนกันเองและชนพื้นผิวโลกน้อยลง  ทำให้ความดันอากาศบริเวณนั้นลดลงด้วย  
    
          ดังนั้นผิวโลกบริเวณที่อากาศมีอุณหภูมิสูงจึงมีความดันอากาศน้อยกว่าบริเวณที่อากาศมีอุณหภูมิต่ำ

การวัดความดันอากาศ

          การวัดความดันอากาศทำได้โดยการใช้บารอมิเตอร์ บารอมิเตอร์มีหายชนิด เช่น บารอมิเตอปรอท แอนนิรอยด์บารอมิเตอร์ บารอกราฟ ซึ่งมีหลักการในการบอกค่าความดันอากาศแตกต่างกันไป 


                                                                ภาพที่ 7.4 บารอมิเตอร์ชนิดต่าง ๆ     
                                                        ที่มา สสวท. (2561, 121)

ความดันอากาศในชีวิตประจำวัน


        มนุษย์ใช้ประโยชน์จากความดันอากาศในการประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ตัวติดผนัง ล้อรถจักรยาน ความดันอากาศยังส่งผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ เช่น เมื่อนั่งรถจากพื้นที่ราบไปยังภูเขา หรือขึ้นลิฟท์ไปยังชั้นสูง ๆ อาจเกิดอาการหูอื้อ  เนื่องจากเมื่อระดับความสูงเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว 

              ความดันอากาศภายนอกก็มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วเช่นกัน แต่ความดันอากาศภายในร่างกายเปลี่ยนแปลงได้ช้า ความดันอากาศภายในร่างกายมีค่าสูงกว่าความดันอากาศภายนอก จึงทำให้เกิดอาการหูอื้อ

              มีข้อแนะนำสำหรับนักปีนเขาว่าไม่ควรเปลี่ยนแปลงระดับความสูงเกิน 500 เมตร ต่อวัน เพื่อป้องกันอันตรายจากการที่ร่างกายไม่สามารถปรับตัวได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงความดันอากาศ          
             นักบิน ผู้โดยสารเครื่องบิน นักดำน้ำ นักปีนเขา บุคคลกลุ่มนี้ล้วนได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงความดันอากาศ 
  
            พื้นที่บริเวณผิวสัมผัสของตัวติดผนังกับผนังไม่มีอากาศอยู่ในบริเวณดังกล่าวหรือเป็นสุญญากาศ อากาศภายนอกจึงดันตัวติดผนังให้ยึดติดกับผนังอยู่ได้ 

           แรงที่อากาศกระทำในล้อรถมีทุกทิศทุกทาง ล้อรถจึงพองลมอยู่ได้ทุกทิศทาง 

           อากาศร้อนในบอลลูนมีความหนาแน่นน้อยกว่าอากาศที่อยู่ข้างนอกโดยรอบ  บอลลูนจึงลอยสูงขึ้นไปในอากาศ
  
          การดูดของเหลวโดยใช้หลอดกาแฟ ความดันอากาศภายนอกหลอดกาแฟมีค่ามากกว่าภายในหลอด  จึงทำให้ของเหลวเคลื่อนที่เข้าไปในหลอดกาแฟได้ 


                                                                 ภาพที่ 7.4 บอลลูนลอยอยู่ในอากาศ     

                                                          ที่มา สสวท. (2561, 123)


ลม

        ลมเคลื่อนที่ได้เนื่องจากความแตกต่างของความดันอากาศ หรือในทางอุตุนิยมวิทยาเรียกว่า ความกดอากาศ 
       โดยปัจจัยที่มีผลต่อการเคลื่อนที่ของลม ได้แก่ 
      - ความกดอากาศระหว่าง 2 บริเวณ
           - ระยะห่างระหว่างสองบริเวณ
           - สภาพแวดล้อม หรือสิ่งกีดขวางทางเดินของลม

            ลมมีทิศทางการเคลื่อนที่ออกจากบริเวณที่มีความกดอากาศสูงกว่า ไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่ำกว่า 

            อัตราเร็วลม (wind speed) ขึ้นอยู่กับความแตกต่างระหว่างค่าความกดอากาศของทั้งสอง
บริเวณที่ลมเคลื่อนที่ไป  และระยะห่างระหว่างสองบริเวณนั้น  

          หากความแตกต่างระหว่างค่าความกดอากาศของสองบริเวณมีค่ามาก  ลมจะมีอัตราเร็วสูง  และถ้าระยะห่างระหว่างสองบริเวณนั้นมีค่ามาก ลมจะมีอัตราเร็วต่ำ

           อัตราเร็วลมในแต่ละบริเวณแตกต่างกัน เช่นใกล้ต้นไม้อัตราเร็วลมมีค่าน้อยกว่าเหนือยอดไม้
เนื่องจากสิ่งปลูกสร้าง หรือต้นไม้ จะช่วยบังลมให้ลมพัดได้ช้าลง 

          มนุษย์มีวิธีป้องกันบ้านเรือนและทรัพย์สินไม่ให้ได้รับความเสียหายจากลมที่มีอัตราเร็วมากได้โดยสร้างบ้านเรือนที่แข็งแรง หรืออาศัยในพื้นที่ที่ไม่ได้รับผลกระทบจากอัตราเร็วลมมากหรือมีสิ่งกำบัง เช่น ต้นไม้  


                                                       ภาพที่ 7.5 อัตราเร็วลมในบริเวณต่าง ๆ     
                                                  ที่มา สสวท. (2561, 123)

       ลมส่งผลต่อสภาพแวดล้อม โดยพื้นที่ที่มีลมพัดแรงมาก อาจมีสภาพแวดล้อมแห้งแล้งกว่าบริเวณที่มีลมพัดเบา 

       นอกจากนี้ลมยังส่งผลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต เช่น หากอาศัยอยู่ในพื้นที่ที่มีลมแรง ก็ควรเลือกบริเวณสร้างที่อยู่อาศัยที่ไม่รับแรงลมโดยตรง เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดจากลม หรือมรสุม

      องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศมีความสัมพันธ์กัน เช่น ความกดอากาศและลมมีความสัมพันธ์กัน   ความกดอากาศมีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิอากาศ 

     ความกดอากาศและลมเป็นองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศซึ่งส่งผลต่อสภาพอากาศของพื้นที่นั้น ๆ เช่น ความแตกต่างของความกดอากาศ ทำให้เกิดลมแรง และอาจเกิดเป็นพายุได้









92 ความคิดเห็น:

  1. เข้าใจ มากค่ะ ไม่งงด้วยค่ะ😍😍
    เด็กหญิงกิตติยา สอนกระโทก ม.1/2เลขที่19
    😂🤣

    ตอบลบ
  2. อ่านแล้วเข้าใจค่ะ💙📗
    เด็กหญิง ภารดี เสมอใจ ม.1/3 เลขที่25

    ตอบลบ
  3. เข้าใจมากครับ ด.ช.ณัฐภูมิ เหียมไธสง ม.๑/3 เลขที่๕

    ตอบลบ
  4. เข้าใจอยู่คับไม่ม่ากแต่ก็เข้าใจคับ😁😃




    ด.ช.พงศภรณ์ ผ่องพรรณ์ เลขที่ 6 ม.1/3

    ตอบลบ
  5. อ่านแล้วได้ความรู้มากดลยครับ
    ชนกันต์ รักไร่ เลขที4 ชั้นม1/3

    ตอบลบ
  6. อ่านแล้วมีความรู้มากเลยค้า
    ด.ญ.ณัฐชา มนัสนันชัย เลขที่20 ม.1/3
    ❤💚❤💚❤💚❤💚❤💚❤💚❤💚❤

    ตอบลบ
  7. เข้าใจขึ้นเยอะเลยคร้าบ^^😊
    ด.ช.จีรศักดิ์ ศรีแสง ม.1/3เลขที่3

    ตอบลบ
  8. อ่านแล้วเข้าใจมากครับ ด.ช.พีระพล หมื่นไธสง ม.1/3เลขที่7

    ตอบลบ
  9. อ่านแล้วเข้าใจมากครับ❤🔰

    ด.ช.วรชัย เหมือนนิยม เลขที่9 ม.1/3

    ตอบลบ
  10. อ่านแล้วเข้าใจค่ะ🙃🤙🏻
    เด็กหญิง นรมน พวงสิน เลขที่21 ม1/3

    ตอบลบ
  11. อ่านแล้วได้ความรู้เยอะเลยค่ะ
    ด.ญ.สรัลพร หมอดี ม.1/3เลขที่27

    ตอบลบ
  12. อ่านแล้วมีความรู้
    เอกพล เยี่ยงนา เลขที่13 ม.1/3😳😳

    ตอบลบ
  13. อ่านเเล้วเข้าใจครับ.....ครับ....รู้เรื่องครับ...ครับ
    🤓🤓🤓🤓🤓🤓🤓😵😵😵😵😵🤐🤐🤐
    👔



    ด.ช.ศราวุฒ ร่มพิมาย ม.1/3 เลขที่11

    🦊
    👔
    👞

    ตอบลบ
  14. มีความรู้มากๆเลยค่ะ🥀❤️
    ด ญ กุลณัฐ ควบพิมาย ม 1/3 เลขที่16

    ตอบลบ
  15. มีความรู้มากๆเลยค่ะ🥀❤️
    ด ญ กุลณัฐ ควบพิมาย ม 1/3 เลขที่16

    ตอบลบ
  16. เข้าใจคับ รู้เรื่อง น่าจะใช่ครับ ดีครับ ผมว่าผมอ่านแล้วรู้สึกเข้าใจมากเลยครับ ไม่ว่าจะเลื่อนไปทางไหนก้ตาลายไปหมด แต่ก้มีภาพเยอะเหมือนกันครับ
    ผมว่าไม่ว่าจะอ่านอันไหนก้เข้าใจและก้เข้าใจนั้นแหละ
    ผมอ่านเมื่อไหราก้สนุก และเข้าใจ รู้เริ่อง ฉลาดขึ้น
    เจ้าใจมากขึ้น ลายละเอียดก้เยอะดีนะครับ
    รูปภาพก้ทำให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น เนื้อหาก้เยอะ.
    ผมอ่านมาหบายเรื่องแล้วก้รู้สึกเข้าใจ
    (แต่บางอันก็งงอะนะ)
    แต่อ่านไปเรื่อยก้เข้าใจแหละครับ
    บลาๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ


    (ด.ชกอบุญ ทางดง ชั้นม.1/3 เลขที่2)

    ตอบลบ
  17. อ่านแล้วมีคาวมเข้าใจมากขึ้นค่ะ😄😄
    ด.ญ.ขวัญเนตร กุลพรมม.1/3เลขที่18

    ตอบลบ
  18. อ่านแล้วเข้าไจ
    กิตติศักดิ์ ม.1/3เลขที่ 1

    ตอบลบ
  19. อ่านแล้วได้ความรู้สาระมากมายเลยครับ
    พัชรพล สีชมภู ม.1/1 เลขที่8

    ตอบลบ
  20. อ่านแล้วเข้าใจมากครับ®

    ตอบลบ
  21. อ่านแล้วได้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องความกดอากาศและลมมากเลยคับ
    ด.ช.วรรณโชติ เกี้ยมชัยภูมิ ม.1/1 เลขที่9

    ตอบลบ
  22. เข้าใจมากๆเลยคลับ
    ด.ช ศุภกฤต ขวาแซ่น ม1/1เลขที่10

    ตอบลบ
  23. อ่านแล้วเข้าใจมากครับ
    ด.ช.ก้องภพ ดวงภาค เลขที่2 ม.1/1

    ตอบลบ
  24. อ่านแล้วเข้าใจง่ายเข้าใจเร็วดีครับ ด.ช.สุมิตร ช่างบุ ม.1/1 เลขที่11

    ตอบลบ
  25. เเบบว่า อ่านเเล้วได้ความรู้มากเลยครับ ทำให้สมองโปร่งตั้งเเต่เช้าเลยครับ
    ด.ช.ณัฐพงษ์ ประกอบผล เลขที่3 ม.1/1ครับ

    ตอบลบ
  26. อ่านเเล้วได้รับความรู้มากๆครับ ดนุเดช มวยเก่ง ม.1/1เลขที่4

    ตอบลบ
  27. อ่านเเล้วเข้าใจยิ่งขึ้นค่ะ ไม่ค่อยงง มีรูปภาพประกอบทำให้อ่านเเล้วสนุกเข้าใจ💕💕 พุทธธิดา เลขที่18 ม.1/1💕💕

    ตอบลบ
  28. อ่านแล้วทำให้เข้าใจมากขึ้นและได้สาระความรู้มากมายค่ะขอบคุณคุณครูที่ทำมาให้อ่านนะ💗💗💗
    ด.ญ.จิดาภา รักไร่ เลขที่14 ชั้น.1/1

    ตอบลบ
  29. อ่านแล้วเข้าใจมากค่ะได้สาระมาก
    แล้วไม่งงด้วยค่ะ
    (ด.ญ.มลผกา เชี่ยวชาญ ม1/1เลขที่19ค่ะ)

    ตอบลบ
  30. อ่านแล้วได้ความรู้ดีครับ ธีรชัยแคะสูงเนิน ม.1/1เลขที่5

    ตอบลบ
  31. ความรู้เพิ่มขึ้นมากครับ
    ธีรพงเเคะสูงเนิน ม.1/1 เลขที่6

    ตอบลบ
  32. อ่านแล้วเข้าใจและรู้เรื่องมากๆค่ะมีภาพบรรยายทำให้เกิดความเพิดเพลินในการอ่าน😊😁

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. อ่านแลัวทำให้เข้าใจรุ้ะรื่องและเกิดความเพลิดเพลินในการอ่านด้วยค่ะ
      ด.ญ.ธัญญ่า ปัจชัย ม.1/1 เลขที่16ค่ะ

      ลบ
  33. อ่านเเล้วเรียนรู้เรื่องเยอะมากค่ะ เรียนทันเพื่อนด้วยค่ะขอบคุณค่ะ😄👑😍😍😍
    ด.ญ ลลิตา ช่วยพันธ์ เลขที่20 ม.1/1

    ตอบลบ
  34. อ่านเเล้วเข้าใจขึ้นค่ะ มีรูปภาพประกอบเเละอ่านเเล้วสนุก💕💕💕💕 ชนันภรณ์ พลดี ชั้นม.1/1 เลขที่15

    ตอบลบ
  35. อ่านเเล้วเข้าใจมากค่ะได้ความรู้มากกว่าเดิมด้วยค่ะ
    ด.ญ.นรกานต์ ขวัญดีม1/1 เลขที่21

    ตอบลบ
  36. อ่านเเล้วเข้าใจมากยิ่งขึ้น😆 อ่านง่ายเข้าใจง่ายค่ะ😍

    ตอบลบ
  37. อ่านเเล้วเข้าใจมากยิ่งขึ้น😆 อ่านง่ายเข้าใจง่ายค่ะ😍

    ตอบลบ

  38. อ่านเเล้วเข้าใจมากยิ่งขึ้น😆 อ่านง่ายเข้าใจง่ายค่ะ😍
    ด.ญ.ภัทรวดี ทองประดิษฐ 1/2 เลขที่28

    ตอบลบ
  39. อ่านแล้วได้ความรู้เยอะมากๆค่ะ💕
    ดญ.ปุญญฉัตต์ รักษาสุวรรณ ม.1/2 เลขที่25

    ตอบลบ
  40. อ่านแล้วเข้าใจมากค่ะ
    ด.ญ.แพรวา พิทักษ์กาสร ม.1/2 เลขที่27

    ตอบลบ
  41. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  42. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  43. อ่านแล้วได้ความรู้มากๆเลยค่ะม.1/2เลขที่33

    ตอบลบ
  44. อ่านเเล้วดีมากๆค่ะ ได้ความรู้เยอะมากกๆค่ะะะะะะ
    ด.ญ.วันเพ็ญ พูนดี ม.1/2 เลขที่31

    ตอบลบ
  45. อ่านเเล้วเข้าใจมากขึ้นค่ะ
    ด.ญ จรัสศรี ชื่นสบาย ม.1/2 เลขที่20

    ตอบลบ
  46. อ่านเเล้วรู้เรื่องเข้าใจเรื่องที่สอบมากเลยคะ
    ด.ญ.ธันยพร นามพิมาย ม.1/2 เลขที่ 23

    ตอบลบ
  47. อ่านแล้วมีความมั่นใจในการสอบได้ความรู้เยอะมากๆและมีความสะดวกสบายในการใช้อ่านง่ายเข้าใจไวและมีความเข้าใจเมื่ออ่านเยอะๆเราก็ไม่มั่นใจในการสอบปลายภาคหรือกลางภาค ด.ช.บูรพา ศึกษาชีพ ม.1/2 เลขที่7

    ตอบลบ
  48. อ่านแล้วได้ความรู้ดีค่ะ
    ด.ญ.กรกนก เหล็กประสุข ม.1/2 เลขที่16

    ตอบลบ
  49. อ่านแล้วสามารถทำข้อสอบได้เข้าใจยิ่งขึ้นและไม่ต้องเอาหนังสือเล่มใหญ่กลับบ้านสามารถอ่านในนี้ได้อย่างสะดวกสบายยิ่งขึ้น (ด.ช.รัชพล นิมิตรหมื่นไวน์ ชั้นมัธยมศึกษา.1/2 เลขที่12)����

    ตอบลบ
  50. อ่านแล้วเข้าใจมากๆเลยค่ะม.1/2เลขที่33

    ตอบลบ
  51. อ่านแล้วได้ความรู้เยอะมากค่ะ
    ด.ญ.กชกร ทำไถ ม.1/2 เลขที่15

    ตอบลบ
  52. อ่านเเล้วเข้าใจมากขึ้นค่ะ
    ด.ญ วีรพร พลีดี ม.1/2 เลขที่32

    ตอบลบ
  53. อ่านเเล้วเรียนรู้เรื่องเยอะมากค่ะ เรียนทันเพื่อนด้วยค่ะขอบคุณค่ะ😄👑😍😍😍
    ด.ญ อภัสรา มีวรรณ ม.1/2 เลขที่34

    ตอบลบ
  54. อ่านแล้วเข้าใจมากค่ะได้สาระมาก
    แล้วไม่งงด้วยค่ะ
    👉ด.ญ.ภัทรานันท์ แจ่มศรี👈ม.1/2 เลขที่29

    ตอบลบ
  55. อ่านแล้วทำให้ทำข้อสอบเข้าใจมากขึ้นค่ะ 💓💓
    ด.ญ. ธิดารัตน์ บุญแต่ง ม.1/2 เลขที่24

    ตอบลบ
  56. อ่านแล้วเข้าใจง่ายสะดวกไม่ต้องไปเปิดหนังสือหายาก
    (ด.ญ.กัญญาณัฐ จรภัย เลขที่17 ชั้น1/2)

    ตอบลบ
  57. อ่านแล้วเข้าใจมากขึ้นค่ะ
    ด.ญ.รินลดา ครุฑนอก��

    ตอบลบ
  58. ด.ช ธีระยุทธ สงพิมาย ม1/2เลขที่ 5
    อ่านเเล้วมีความรู้มากคับ

    ตอบลบ
  59. อ่านเเล้วเข้าใจมากเลยครับ👌
    ด.ช.ภัทรพล พุ่มมะขาม ม.1/2เลขที่32

    ตอบลบ
  60. อ่านเเล้วมีความรู้มากกครับบ
    (ด.ช.จิรานุวัฒน์ เก่าพิมาย)เลขที่2 ชั้นม1/2

    ตอบลบ
  61. อ่านแล้วเข้าใจง่ายมากๆค่ะ
    พรธิตา สามารถ ม.1/2 เลขที่26

    ตอบลบ
  62. อ่านแล้วทำให้เข้าใจมากขึ้นและได้สาระความรู้มากมายค่ะขอบคุณคุณครูที่ทำมาให้อ่านนะ🔥ด.ญกานต์ธิดา บัวอุย🔥เลขที่18👌👍

    ตอบลบ
  63. ด.ช สรศักดิ์ คงวิเศษ ม.1/2 เลขที่14จ้ะ
    อ่านเเล้วมีความนู้ครับผมเเละได้ความเข้าใจมากครับผม

    ตอบลบ
  64. อ่านเเล้วได้รับความรู้มากเลยค้ะ😁😁
    เด็กหญิง ญาดา ญาติวงค์ ม.1/2 เลขที่21

    ตอบลบ
  65. ด.ชปิยะพงษ์ หินดง1/2เลขที่10
    อ่านเเล้วได้ความรู้คับ

    ตอบลบ
  66. ด.ช บุญพิทักษ์ บาทโพธิ์ เลขที่6 ม.1/2
    อ่านเเล้วเข้าใจ

    ตอบลบ
  67. อ่านแล้วได้ความรู้มากค่ะ
    ด.ญ.กชกร ทำไถ ม.1ำ/2 เลขที่15

    ตอบลบ
  68. ได้ความรุ้มากเรยคับ.
    ปฏิพัทธ์ เเอมพิมาย
    เลขที่8 1/2

    ตอบลบ
  69. อ่านรู้เรื่องมากมีสาระเยอะ

    ตอบลบ
  70. อ่านแล้วได้ความรู้มากครับ
    ด.ช.ปรมินทร์ ศรีมงคล เลขที่9

    ตอบลบ
  71. อ่านแล้วรู้เรื่องคับ👍
    กิตติภัทร เข็มเพชร
    เลขที่ 1. 1/2

    ตอบลบ
  72. อ่านรู้เรื่องมากครับมีแต่สาระ
    ธนากร มุ่งเอื้อมกลาง ม1/2 เลขที่4

    ตอบลบ
  73. อ่านแล้วเข้าใจมากค่ะ
    ด.ญ.ทิพยาพรณ์ เปรื่องค้า เลขที่22 ม.1/2

    ตอบลบ
  74. อ่านแล้วได้ความรู้ที่ดีมากๆค่ะ ด.ญ.เวียงฟ้า มณีจินตนา ชั้นม.1/3 เลขที่26

    ตอบลบ
  75. อ่านแล้วเข้าใจง่ายค่ะ ด.ญ.ณัฏฐนิชา นักปี่ ชั้นม.1/3 เลขที่19

    ตอบลบ
  76. อ่านแล้วได้ความรู้เพิ่มมากขึ้นค่ะ ด.ญ.เพชรลดา ศิลาจันทร์ ชั้นม.1/3 เลขที่23

    ตอบลบ
  77. เข้าใจมากเลยครับ อภิสิทธิ์ ควรพิมาย ม.1/3เลขที่12

    ตอบลบ
  78. อ่านแล้วเข้าใจค่ะ เด็กหญิง อรุณรัตน์ เเอ้นไธสง ชั้นม.1/3 เลขที่25

    ตอบลบ
  79. อ่านแล้วสนุกและได้ความรู้ด้วยค่ะ ด.ญ.ขนิษฐา สมจิต ชั้นม.1/3 เลขที่17

    ตอบลบ
  80. อ่านแล้วเข้าใจค่ะ ด.ญ.อาทิตยา มะชะรา
    ชั้นม.1/3 เลขที่30

    ตอบลบ
  81. อ่านแล้วได้ความรู้สะสมไว้ด้วยค่ะ ด.ญ.ภนิดา งามหลาย ชั้นม.1/3 เลขที่24

    ตอบลบ
  82. อ่านแล้วได้ความรู้มากค่ะ ด.ญ สุพัตรา พิกุลหอม
    1/3เลขที่28

    ตอบลบ
  83. อ่านแล้วเข้าใจมากเลยค่ะ
    ด.ญ.กมลลักษณ์ สอบเหล็ก ม.1/3 เลขที่14

    ตอบลบ
  84. อ่านเข้าใจดีค่ะและให้ความรู้ด้วยค่ะ ด.ญ.ปณิตา บุญคํ้า ชั้นม.1/3 เลขที่22

    ตอบลบ
  85. อ่านเเล้วเข้าใจเเละมีความรู้มากค่ะ
    ด.ญ.กัญญารัตน์ เพ็ญสุข ม.1/3 เลขที่15

    ตอบลบ
  86. อ่านแล้วเข้าใจครับ ธีรชัย แคะสูงเนิน 1/1 เลขที่5

    ตอบลบ
  87. อ่านแล้วเข้าใจครับ ธีรชัย แคะสูงเนิน 1/1 เลขที่5

    ตอบลบ